ความคิดเห็นบนคำถาม

คุณคิดว่า การสำนึกผิด กับ การแถลงความผิดต่อสาธารณชน ต่างกันหรือไม่?
27 เม.ย. 2023 เวลา 02:24 • ปรัชญา • 8 คำตอบ
คำตอบ (8)
  • สุดยอดคำตอบ
    ตรงไปตรงมาคือ การแถลงความผิดต่อสาธารณชน ไม่จำเป็นว่าจะต้องสำนึกผิดเสมอไป การแถลงความผิดต่อสาธารณชนนั้น ทำได้เฉพาะกรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณ และเพื่อประโยชน์แห่งคดี โดยนัยนี้จึงมีความสลับซับซ้อนในทางรูปคดี ซึ่งจะมีผลต่อการทำคดีของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด...
  • ต่างกันอย่างชัดเจน เรื่องการสำนึกผิดเป็นบริบทที่เกิดจากสภาวะใจที่มีความรู้สึกผิดต่อการกระทำของตนอย่างแท้จริง แม้จะไม่แสดงออกอย่างเป็นรูปธรรมก็ตาม
    การกล่าวแถลงไขต่อการกระทำของตนนั้น คน ๆ นั้นอาจไม่ได้มีความสำนึก หรือ...
  • ไม่ต่างค่ะ..พวกนี้เป็นพวกเเสเเสร้งตลบตเเลงตอเเหลค่ะ
    1
  • การสำนึกผิด คือการยอมรับว่าได้กระทำผิดนั้นๆจริง การแถลง ก็เหมือนการบอกกล่าวการทำความผิดออกไปให้คนอื่นรู้
    อย่างไรก็ตามมัน ต่างกัน
  • การสำนึกผิดเป็นเรื่องที่ทำงานกับข้างในใจตัวเองคนเดียวแต่การแถลงข่าวต้องผ่านการเรียบเรียงข้อมูลเนื้อหาที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นเพื่อให้คนอื่นรู้สึกมีส่วนร่วมในการเห็นใจค่ะ
  • เหมือนกันได้ทำความผิดสำเร็จและการยอมรับ
    "ข้าพเจ้ายอมรับและสำนึกผิดที่ได้ทำลงไปโดยแอบใส่ไซยาไนด์ในแก้วไวน์ให้เพื่อนดื่มเพื่อจะเอานาฬิกาปาเต๊ะ ฟิลลิป
    ข้าพเจ้าขอโทษต่อญาติพี่น้องและเพื่อนของข้าพเจ้า ที่ได้ทำสิ่งแย่ๆไปเพรา...
  • สำนึกผิด คือ เจ้าตัวรู้แก่ใจ มีความสำนึกผิด ชอบ ชั่ว ดี
    แถลงความผิดต่อสาธารณะ คือ ป่าวประกาศว่าผิดอย่างไรต่อสาธารณะ...
  • แค่คำกับประโยค ก็ต่างกันแล้ว ไม่น่าสงสัยว่าต่างกันหรือไม่
    3