ความคิดเห็นบนคำถาม

มีความคิดเห็นอย่างไรกับ คำกล่าวของพระบุญธรรมโธตโก(ท่านแก้ว) “ อาตมาไม่ทุกข์หรอก เพราะอาตมาไม่รู้จักความสุข “ ?
7 เม.ย. เวลา 00:08 • ปรัชญา • 14 คำตอบ
เมื่อครั้งที่ญาติป่วย นิมนต์ท่านแก้วไปรักษาจิตให้ญาติ ท่านได้พูดคำนี้ค่ะ ไปทำบุญกับท่านมาท่านให้... ดูเพิ่มเติม
คำตอบ (14)
  • สุดยอดคำตอบ
    “อาตมาไม่ทุกข์หรอก เพราะอาตมาไม่รู้จักความสุข”
    คำกล่าวนี้…. ถ้ามองแบบ ภาษาธรรม ท่านอาจกำลังสื่อว่า
    เมื่อไม่มีการยึดติดใน “สุข” ก็ไม่มี “ทุกข์” ตามมา...
  • จิตที่ไม่จมปลักกับทุกข์ และไม่แสวงหาความสุข จิตนั้นอยู่ในกระแสกรรมไม่ดำไม่ขาว และไม่กลับมาเวียนวนในไตรวัฏฏะอีก จิตนั้นจึงมีนิพพิทาและคลายตัวด้วยความเบื่อหน่ายคลายกำหนัด สู่ความดับไม่เหลือเพื่อนิพพาน
  • เมื่อไร้สิ่งเปรียบเทียบ สภาวะเป็นกลางจักเกิดขึ้น
  • คิดว่าไม่ใช่ พุทธ ที่พระพุทธเจ้าสอนและไม่น่าจะมีในพระไตรปิฎก ควรโดนตรวจสอบ
  • ชัดเจนว่า ความเป็นจริงของชีวิตเป็นเส้นตรงไม่ว่าจะใช้งานในเเนวดิ่งหรือแนวนอน เหมือนกับม้วนเชือกที่ไม่มีปมไม่มีร่องรอยตัดต่อ ถึงแม้จะคดเคี้ยวแต่ก็จะไม่พันกัน แค่เพียงใช้งานมันด้วยความระมัดระวังทุกขั้นตอน
  • เป็นไปไม่ได้ที่คนเราจะไม่มีเวทนาเลย อย่างน้อยในตอนเด็กเราก็มีเวทนาแบบเด็กๆ โตขึ้นมาเราก็มีเวทนาแบบผู้ใหญ่ ผมไม่ทราบว่าเป็นอุบายในการสอนธรรมหรือไม่แต่เวทนา(ความสุข ความทุกข์ และอุเบกขา)นั้นเป็นขันธ์ห้า ถ้าเรายังมีขันธ์ห้าอยู่ยังไงเราก็ต้องมีเวทนา(ควาามสุข ความทุกข์) นอกจากว่...
  • โมทนาสาธุ ไม่ติดสุข ไม่ติดทุกข์ ทำตามหน้าที่ให้ดีที่สุดหมดหน้าที่ก็เข้าสู่ความสงบ
  • อย่าพึ่ง เชื่อในสี่งที่ท่านพูด เพียงแค่ผู้นั้นจะถึงจะเป็นอาจารย์เรา นะครับ หลวงพ่อ ชา สุภัทโท ท่านได้ถามญาติ โยมว่า อาตมาได้ยื่นผลส้มให้หนึ่งลูก แล้วถามว่า ส้มผลนี้หวานหรือเปรี้ยว ญาติ โยม ส่วนมากตอบว่า ส้มเปรี้ยว...
  • เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างขอคำว่า "เคลื่อนไป" , "บิดพริ้วไป"
    *คำว่า "วาง"
    ไม่ได้แปลว่า ทึกทักเอาว่าเป็นเรื่องสมมติ
    ไม่ได้แปลว่า ไม่รู้จัก...
  • มีความเห็นว่า..
    การไม่ทุกข์เพราะไม่รู้จักความสุข เป็นวิธีคิดอย่างหนึ่งในเชิง comparative คือเมื่อไม่มีตัวเปรียบเทียบ ไม่รู้ว่าสุขเป็นอย่างไร จึงไม่รู้ว่าทุกข์เป็นอย่างไร (คล้ายๆกับ ไม่เคยครอบครองก็ไม่สูญเสีย ไม่คาดหวังก็ไม่ผิด...