Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
Stay with Math
•
ติดตาม
23 ก.ค. 2020 เวลา 12:00 • การศึกษา
ทฤษฎีเซต (Set Theory) (ตอนที่ 6)
ดูสรุปตัวดำเนินการ ของเซตครับ
ตัวอย่างการทำ union และ Intersection ระหว่างเซต 2 เซต
การทำ differential ของ 2 เซต
เซต A - B
เซต B - A
จำนวนสมาชิกของเซต
จำนวนสมาชิกของเซตที่ไม่เหมือนกันในเซตแบบจำกัดเขตเรียกว่า
“จำนวนสมาชิกของเซต” เขียนว่า “n(A)” ซึ่งอ่านว่า จำนวนสมาชิกในเซต
ข้อสังเกตุ
1. จำนวนสมาชิกของเซตไม่จำกัดขอบเขตไม่นิยาม
2. จำนวนสมาชิกของเซตว่าง = 0 เพราะไม่มีสมาชิก
สมบัติจำนวนสมาชิกของเซต
เราได้รู้จักเรื่องราวเกี่ยวกับเซตมาพอสมควร ต่อไปเราจะมาคุยกัน ถึงเรื่องของเซตที่เราอาจมีความจำเป็นที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
ลองดูสมบัติของจำนวนสมาชิกของเซตครับ
ถ้า A และ B เป็นเซตจำกัดขอบเขต
• n (A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩ B)
ถ้า A ∩ B = ф, then n(A ∪ B) = n(A) + n(B)
เห็นได้ชัดเจนจาก Venn diagram ว่า
• n (A - B) = n (A) – n (A ∩ B)
• n (B - A) = n (B) – n (A ∩ B)
สมบัติของจำนวนสมาชิกของเซต มีประโยชน์ ในการแก้ปัญหาโจทย์สำหรับน้องๆมัธยมปลาย
ตอนหน้าเป็น ทฤษฎีเซต (Set Theory) (ตอนที่ 7) เราจะมาคุยกันเรื่อง คู่อันดับครับ
1 บันทึก
4
ดูเพิ่มเติมในซีรีส์
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย
1
4
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย