Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
Stay with Math
•
ติดตาม
23 มี.ค. 2021 เวลา 12:18 • การศึกษา
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอนที่ 4) การสร้าง พิธาโกเรียนทริปเปิล
วันนี้เราจะมาคุยกันในเรื่องของ การสร้าง พิธาโกเรียนทริปเปิล จากจำนวนเต็มบวก 2 จำนวนที่ไม่เท่ากัน
โดยที่เรามี m และ n ซึ่งเป็นจำนวนเต็มบวก 2 จำนวนที่ไม่เท่ากัน เพื่อนำมาสร้างเป็นความยาวของสามเหลี่ยมมุมฉาก a, b, c
ดูตารางข้างล่าง ครับ
จากตารางดังข้างบน เราได้ พิธาโกเรียนทริปเปิล ซึ่งหากเราเลือกค่า m และ n (m > n) ได้เหมาะสม แล้ว เราจะได้ พิธาโกเรียน ปฐมฐาน (Primitive Pythagorean) เช่น
(3, 4, 5) , (5, 12, 13) และ (9, 40, 41) เป็นต้น อย่างลืมว่า พิธาโกเรียน ปฐมฐาน แต่ละชุด มี ห.ร.ม. = 1 เท่านั้น
เราสังเกตดูว่า พิธาโกเรียนทริปเปิล จากตารางด้านบน เป็น พิธาโกเรียน ปฐมฐาน (Primitive Pythagorean) ทุกชุด หรือไม่ เพราะเหตุใด
ถ้าเรามี พิธาโกเรียน ปฐมฐาน (Primitive Pythagorean) แล้ว เราสามารถสร้าง พิธาโกเรียนทริปเปิล ได้อย่างมากมาย
อย่าลืมว่า พิธาโกเรียนทริปเปิลประกอบด้วย
• เป็นจำนวนคู่ทั้งหมด หรือ
• เป็นจำนวนคี่ 2 ตัว และ จำนวนคู่ 1 ตัว
คราวหน้าเราจะมาคุยกันในเรื่องของทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอนที่ 5) ในวันที่ 25 มีนาคม 2564 เวลา 19.00 น.
3 บันทึก
2
ดูเพิ่มเติมในซีรีส์
คณิตศาสตร์ ม.ต้น
3
2
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย