Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
Stay with Math
•
ติดตาม
8 พ.ค. 2021 เวลา 12:00 • การศึกษา
สามเหลี่ยม (ตอนที่ 11) เรื่องของมุม
คราวที่แล้วเราคุยกันถึงมุมตรงข้ามและมุมที่สมนัยกันซึ่งมีมุมที่เท่ากัน
วันนี้เราจะมาคุยกันต่อครับ
หากเรามีเส้นขนาน 2 เส้นโดยมีเส้นตรง 1 เส้นตัดผ่าน หากเราทราบนาดของมุม 1 มุม เราสามารถใช้ทฤษฎีพื้นฐาน หาค่าของมุมที่เหลือได้หมด
จากครั้งที่ผ่านมา ถ้าเราทราบมุม 1 มุม สมมุติเราทราบ ∠ h = 120° ทำให้เราทราบมุม g ได้โดย
• คุณลักษณะของเส้นตรงที่มีมุม เท่ากับ 180°
นั่นคือเส้นตรง OP ประกอบด้วย มุม h และมุม g
• เมื่อเราทราบ ∠ h และ ∠ g แล้ว เราใช้ “มุมตรงข้ามเท่ากันเสมอ”
เพื่อหาค่า ∠ e และ ∠ f
• ใช้ “มุมที่สมนัยเท่ากันเสมอเมื่ออยู่บนเส้นคู่ขนาน”
ทำให้เราทราบ ∠ d = 120° ซึ่งสมนัยกับ ∠ h
• เมื่อทราบค่าของ ∠ h ทำให้ทราบค่าของ ∠ a, ∠ b, ∠ c ดังรูป
เรื่องของมุมที่เกิดจากเส้นขนาน 2 เส้นซึ่งมีเส้นตรงตัดผ่านยังไม่จบ คราวหน้าเราจะมาคุยกันต่อครับ
บันทึก
1
ดูเพิ่มเติมในซีรีส์
คณิตศาสตร์ ม.ต้น
1
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย