ความคิดเห็นบนคำถาม

ในคำสอนพุทธ หากคุณถูกข่มเหง รังแก เป็นสิบครั้ง นานเป็นปี คุณจะขันติและอุเบกขา คิดเสียว่ากรรมเราชาติที่แล้วไม่ต้องทำอะไร ทำใจให้สงบพอหรือจะลุกขึ้นมาสู้ให้มันรู้ว่าคุณไม่ใช่เหยื่อของมันอีกต่อไป?
16 ม.ค. 2024 เวลา 07:34 • ความคิดเห็น • 22 คำตอบ
คำตอบ (22)
  • สุดยอดคำตอบ
    ไม่ใช่นะคะ
    พุทธสอนให้เรามีสติ เมื่อเรามีสติ เราจะเกิดปัญญา
    เราตอบโต้อย่างมีสติ คือการตอบโต้อย่างฉลาดของผู้มีปัญญา ไม่ให้ผลกลับมาทำร้ายเราและเขา หรือใครๆ...
  • ควรพิจารณาว่าเหตุเกิดดจากอะไร และใช้ปัญญาดับเหตุนั้นครับ
    เวรกรรมในอดีตแม้ทำจริงแต่ท่านไม่ได้สอนให้ก้มหน้ารับกรรมหากมีทางเลี่ยงได้ควรหลีกเลี่ยง
    ตัวอย่าง เช่น พระอรหันต์โดนโจรตามทำร้ายท่านรู้ก่อนก็เลี่ยงไปเพราะไม่อย...
  • เป็นความเข้าใจพุทธแบบผิดๆเลย.. ตอนเด็กๆเราก็เข้าใจแบบนั้น 🥹
  • ส่วนใหญ่การไม่ตอบโต้มาจากการที่เรามีเรื่องอื่นสำคัญกว่า สนใจมากกว่า แต่ในบางกรณีมันจะไม่แล้วไปแล้วถ้าอีกฝ่ายมีมิชชั่นของเขาน่ะครับ แต่มิชชั่นที่ว่ามันไปถึงไหนต่อไหนแล้วทำให้ความเดือดร้อนกลายเป็นหวาดหวั่นหวาดกลัวทั้งคนใกล้ตัวเราและคนอื่นเละเทะวุ่นวายกันไป ไร้หมวดไร้หมู่ จนวนกลับมา...
  • สู้ตั้งแต่ครั้งแรกเลยค่ะ😎
  • บางสถานการณ์ ต้องถอดและทิ้งคำสอนออกจากตัวครับ เพราะคู่ต่อสู้ตรงหน้าไม่ปกติ ใช้หลักธรรมและไม้นวมไม่ได้ จนสุดท้าย...ตัวเราอาจต้องเฮี่ยตามไปด้วย แต่ก็คู่ควรและเหมาะสม กับสถานการณ์ครับ 🙂
  • ส่วนตัวไม่ได้มองว่าศาสนาพุทธสอนให้ไม่ตอบโต้ มันก็ต้องลองดูก่อนว่าสามารถแก้ไขได้ไหม? โลกนี้มีเรื่องให้แยกแยะเพียงสองเรื่องเมื่อประสบปัญหา
     
    1)เป็นปัญหาที่เรามีอำนาจในการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ หรือ แก้ไขความเข้าใจ...
  • พุทธธรรมมีเนื้อหาเพื่อให้เข้าใจธรรมชาติตนเองซึ่งจะนำไปให้เข้าใจผู้อื่นได้เช่นกัน
    พุทธธรรมมีเนื้อหาสอนให้บุคคลมีสติรู้เท่าทันตัวเอง รู้เท่าทันความรู้สึก โลภ โกรธ หลง ในใจที่เกิดขึ้นมา ไม่ให้สิ่งเหล่านี้เด่นจนครอบงำ ความคิด...
  • ขอแสดงข้อธรรมจากปัญญาอันจำกัดของข้าพเจ้า
    การมีขันติ >ดี
    การรู้จักอุเบกขา >ดีมาก
    การที่ต้องทนความยุติธรรมถูกข่มเหงรังแกว่าเป็นกรรมเก่า >ไม่สู้จะเหมาะนั...
  • ตัวอย่างการอดกลั้นอดทน