ความคิดเห็นบนคำถาม

ยิ่งคิด ยิ่งไม่รู้ ยิ่งรู้ ยิ่งไม่คิด ?
5 ม.ค. เวลา 03:18 • ปรัชญา • 10 คำตอบ
ปริศนาธรรมครับ รอคำตอบจากผู้รู้ครับ
คำตอบ (10)
  • ทำตัวโง่บ้าง หลักแหลมที่สุด
  • เป็นปริศนาธรรมจริงๆครับ​ กล่าวคือ​
    1.ยิ่งคิดยิ่งไม่รู้​ เป็นภาพสะท้อนมิติทางโลกธรรม​ คือ​ สภาวะแห่งสมอง
    2.ยิ่งรู้​ ยิ่งไม่คิด​ เป็นภาพสะท้อนมิติทางโลกุตรธรรม​ คือ​ สภาวะแห่งจิต​...
  • ขออณุญาติตอบง่ายๆด้วยเจตนาของการเผยแผ่ธรรมมะที่มุ่งเน้นความเข้าใจที่ง่ายโดยไม่ต้องตีความ นั่นคือ "การอ่านคำเฉลยที่ถูกแปลแล้ว" เพราะนั่นคือความรู้ที่ไม่ต้องคิด!
  • ไม่ใช่ “ผู้รู้” แต่ขอตอบนิดนะครับ…..
    ในทางธรรม “ยิ่งคิด ยิ่งไม่รู้ ยิ่งรู้ ยิ่งไม่คิด” คือการคิดมากเกี่ยวกับความจริง อาจทำให้เราติดอยู่ในความสงสัย (วิจิกิจฉา) เมื่อเข้าถึงความจริงหรือสภาวะธรรม เราจะหยุดการตั้งคำถาม เพราะเห็นตามความเป็นจริง...
  • ได้หมด ถ้าสดจัด
    ยิ่งคิด ยิ่งรู้
    ยิ่งรู้ ยิ่งคิด
    จิต...
  • ถูกต้องคือยิ่งคิดก็วนเวียนในกิเลสพอรู้ถึงสัจธรรมก็เลิกคิดฟุ้งซ่านนั่นเอง...คือปริศนาธรรมว่า...ยิ่งคิดยิ่งไม่รู้ ยิ่งรู้ยิ่งไม่คิด
  • การคิดถูกจัดให้เป็นการกระทำอย่างหนึ่ง คือเป็นการกระทำทางใจ เรียกว่า "มโนกรรม"
    การกระทำทุกอย่าง กายกรรม, วจีกรรม, มโนกรรม เราควรฝึกตัวเองให้เป็นคนมีสติ (คนที่มีสติอยู่ตลอดเวลา ก็คือคนที่มีสมาธิ) เพื่อที่จะดูว่าในขณะที่เ...
  • ตามความเข้าใจส่วนตัว ( ที่ไม่ใช่ผู้รู้ )
    .
    การใช้ความคิด เป็นการใช้สมองปรุงข้อมูลที่เจ้าของสมองสะสมมาตั้งแต่เกิด ออกมาเป็นผลลัพธ์ ซึ่งจะทำให้ผลที่ออกมาจากความคิดของคนแต่ละคน มีความแตก... อ่านต่อ
  • เรื่องของจิตนั้น ..ที่เค้าว่า เรามาแต่จิต ก็ไปแต่จิตดวงเดียว พอเกิดมาอาศัยกายที่มีพ่อแม่เป็นมนุษย์ ..ก็เรื่องของกรรม ..กรรมที่สะสมมาแต่อดีต เคยใช้อารมณ์โลภโกรธหลง เคยอิจฉาตาร้อง เคยเกียจชัง เคยชอบ..รูปรสกลิ่นเสียง สัมผ้ส มีราคะตัณหาเกิดขึ้น มีอามรณ์ปรุงแต่งเรื่องนั้นเรื่องนี้ มา...
  • ยิ่งคิดยิ่งไม่รู้ตัวว่ากำลัง
    ไหลไปกับการปรุงแต่งความคิด
    การจะออกจากความคิด
    ต้องเห็นว่าตัวเองกำลังคิด...
    1