9 ก.ค. 2020 เวลา 12:00 • การศึกษา
สมการเชิงเส้น (ตอนที่ 4)
สมการเชิงเส้นที่อาจเขียนไม่ตรงรูปแบบ y = mx + b
3
สมการเส้นตรงที่เราได้คุยกันมาตั้งแต่ต้น เรียกว่า “ Slope-Intercept Form” ซึ่งคุ้นชิน กับรูปสมการคือ y = mx + b
สมการเชิงเส้นที่คุ้นชินเรืยกว่า Slope-Intercept Form
รูปแบบต่อมาเรียกว่า Point-Slope Form ของสมการเส้นตรง เป็นสมการเชิงเส้นอีก รูปแบบหนึ่งที่ กำหนดจุดพิกัดบนเส้นกราฟ
สมการรูปแบบนี้มีประโยชน์เมื่อเรารู้
• หนึ่งจุด (พิกัด) บนเส้นกราฟที่ตำแหน่ง (x1, y1)
• ความชันของเส้นกราฟ: m
และเราต้องการหาจุดอื่นๆบนเส้นกราฟนั้น
ลองดูตัวอย่างครับ
เปลี่ยนสมการทีเราสร้างขึ้นมาจากเส้นตรงซึ่งอยู่ในรูป Point-Slope form ให้เป็น Slope Intercept Form
จุดกึ่งกลางของเส้นตรง อยู่ตรงไหน?
อยู่ตรงกึ่งกลางของเส้นตรงครับพูดง่ายๆว่า “อยู่ตรงพิกัดครึ่งทางระหว่างปลายทั้งสอง ด้านของเส้นตรงนั้น”
อีกรูปแบบของสมการเชิงเส้นเรียกว่า General form
ดูรูปด้านล่างครับ
เขียนในรูปของ ฟังชั่น (Function)
ในบางครั้งสมการเชิงเส้นถูกเขียนในรูปของ function
โดยใช้สัญลักษณ์ “f(x)” แทน “y”เช่น
Y = 2x – 3 กับ f(x) = 2x – 3 มีความหมายเหมือนกัน
จบสมการเชิงเส้น (ตอนที่ 4)
คราวหน้าเราจะคุยกันในเรื่องของ จุด เส้น ระนาบ และ ทรงตัน ครับ

ดูเพิ่มเติมในซีรีส์

โฆษณา