Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
Stay with Math
•
ติดตาม
8 เม.ย. 2021 เวลา 12:00 • การศึกษา
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอนที่ 12)
อ่านเพิ่มเติมจาก โพสต์เดิมครับ
วันนี้เราจะมาดูการประยุกต์ทฤษฎีบทของพิธาโกรัสเพิ่มเติมครับ
จากรูปด้านล่าง เรามีสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 รูปคือ สามเหลี่ยม a, b, c และ สามเหลี่ยม c, d, e โดยสามเหลี่ยมทั้ง 2 มีด้าน c ที่ใช้ร่วมกัน โดยที่ a = 3 หน่วยม b = 4 หน่วย และ d = 12 หน่วย แล้ว e จะมีความยาวเท่าใด ?
คราวหน้าเราจะมาคุยกันในเรื่องของ สามเหลี่ยม ในวันที่ 10 เมษายน 2564 เวลา 19.00 น.
คราวนี้เรามาดูกันต่อนะครับ ..... เมื่อเราได้ด้านที่ 3 คือด้าน c ของสามเหลี่ยมมุมฉาก abc แล้ว เราจะเห็นได้ว่า ด้าน c คือด้านหนึ่งของ สามเหลี่ยมมุมฉาก cde ( ซึ่งเราเพิ่งหาค่า c ได้)
และเนื่องจาก c เป็นด้านตรงข้ามมุมฉากของสามเหลี่ยม abc และยังเป็นด้านประกอบมุมฉากของสามเหลี่ยม cde ซึ่งจากความรู้จาก พิธาโกเรียน ปฐมฐาน หากด้านประกอบมุมฉาก c ยาว 5 หน่วย และ โจทย์กำหนดให้ด้าน d ยาว 12 หน่วย โดยเราทราบว่า พิธาโกเรียน ปฐมฐาน มีเซต ของ (5, 12, 13) ทำให้เราทราบว่า ด้านที่เหลือคือ e ซึ่งเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก ยาว 13 หน่วย ซึ่งเป็นคำตอบของโจทย์นี้
ลองดูความเกี่ยวเนื่องของสามเหลี่ยมมุมฉากทั้งสอง จากรูปด้านล่าง
อ่านเพิ่มเติมจาก โพสต์เดิมครับ
อ่านเพิ่มเติม
blockdit.com
[Stay with Math] ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอนที่ 2)
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอนที่ 2)
อ่านเพิ่มเติม
blockdit.com
[Stay with Math] ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอนที่ 3)
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอนที่ 3)
คราวหน้าเราจะมาคุยกันในเรื่องของ สามเหลี่ยม ครับ
3 บันทึก
ดูเพิ่มเติมในซีรีส์
คณิตศาสตร์ ม.ต้น
3
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย