cover

กล่องธรรมะ

  • 0
  • 17
    โพสต์
  • 36
    ผู้ติดตาม
  • สร้างเพจเมื่อ 16 เม.ย. 2020
  • ไตรลักษณ์
    หมายถึง สามัญลักษณะของสังขารทั้งปวง(สิ่งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่งขึ้น)เป็นกฎธรรมดาของสรรพสิ่งได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา... อ่านต่อ
    1
  • ไตรสิกขา
    สิกขาบท 3ข้อที่ชาวพุทธควรศึกษาได้แก่
    ศีลสิกขา:ศึกษาศีลเป็นไปเพื่อให้จิตเป็นปกติ
    จิตสิกขา:ศึกษาเรื่องจิตที่เหมาะแก่การเจริญสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน... อ่านต่อ
  • การเดินทางเพื่อ......แสวงหา
    การเดินทางในครั้งนี้ เริ่มจากดูคลิปรายการ ทีวี รายการเจาะใจ ตอนจากเจ้าของโรงแรม... สู่แดนประหาร พัทธ์อิทธิ์ จินต์วุฒิ อดีตนักโทษประหาร ที่ชีวิตและความคิดเปลี่ยนด้วยไปธรรมะ และตามไปดู่ต่อตอนคุณพัทธ์อิทธิ์ จินฒ์... อ่านต่อ
  • วิธีปฏิบัติภาวนาวิปัสสนากรรมฐาน
    การปฏิบัติธรรมนั้นเป็นเรื่องละเอียดอ่อนต้องอาศัยปัญญาที่แยบคายในการ
    ฝึกฝน ลำดับวิธีการที่ตายตัวนั้นจึงไม่มี ผู้ปฏิบัติจำเกฏิบัติมานานแล้ว
    เลยมองการปฏิบัติเป็นเรื่องง่าย บางท่านพึ่งเคยเข้ามาปฏิบัติเป็นครั้งแรก... อ่านต่อ
  • หน้าที่ของพุทธมามกะ
    -ศึกษาหลักธรรมให้เป็นสัมมาทิฏฐิ
    -ฟังธรรมหรือสนทนาธรรมตามกาล
    -ทำบุญตักบาตร... อ่านต่อ
  • สติปัฏฐาน4
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสรรเสริญว่า สติปัฏฐาน 4 เป็นทางสายเอกที่จะขน
    สรรพสัตว์ออกจากกองทุกข์ และพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ก็ตรัส เช่นเดียวกัน
    สติปัฏฐาน 4 จึงเป็นเครื่องมือหลัก ในการปฏิบัติภาวนาเพื่อทำให้แจ้งซึ่งพ... อ่านต่อ
  • อริยมรรคมีองค์ 8
    มรรค คือ หนทางถึงความดับทุกข์ เป็นส่วนหนึ่งของอริยสัจ (เรียกว่า มัคคสัจจ์หรือ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ) หรือหมายถึง วิธีการลงมือ
    ปฏิบัติเพื่อให้พ้นจากทุกข์ และนับเป็นหลักธรรมสำคัญอย่างหนึ่งในพระพุทธศ... อ่านต่อ
  • ขันธ์5
    ขันธ์ แปลว่า ตัว, หมู่, กอง, พวก, หมวด ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายและจิตใจของมนุษย์ เป็นเพียงธรรมธาตุที่อาศัยกันและกันเกิดขึ้น ไม่มีใครเป็นเจ้าของ โดยมี 2 ธาตุที่สำคัญคือ รูปธาตุ1และนามธาตุ4... อ่านต่อ
  • อริยสัจ 4 แก่นของพระพุทธศาสนา
    สิ่งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสรู้นั้นคือ อริยสัจ 4(สัจจะที่ทำให้เป็นผู้ประเสริฐ) ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค... อ่านต่อ
  • เฉลย: แบบประเมินระดับความทุกข์นั้น หากผู้ ทำการประเมินกาเครื่องหมายถูกจำนวนมากข้อถือว่าทานเข้าใจหลักวิธีปฏิบัติธรรม เหตุผลที่กล่าวอย่างนั้น เพราะท่านสามารถเห็นทุกข์ที่เกิดนึ้นในชีวิตประจำวันได้ เมื่อรู้ทุกข์เป็น... อ่านต่อ