cover

ห้องไฟฟ้า

  • เทคโนโลยี
  • 0
  • 24
    โพสต์
  • 491
    ผู้ติดตาม
  • สร้างเพจเมื่อ 3 มิ.ย. 2020
  • ความเป็นมาของสาย IEC01 (THW)
    สาย THW --> สายตารางที่ 4 --> สาย IEC-01... อ่านต่อ
  • ข้อกำหนดในการเลือกใช้สายไฟฟ้าแรงสูงระหว่าง PIC และ SAC เป็นอย่างไร ?
    สาย PIC คือ สายหุ้มฉนวนบางส่วนไม่เต็มพิกัด (มีฉนวนชั้นเดียว) ส่วนสาย SAC คือ สายหุ้มฉนวนไม่เต็มพิกัด (มีฉนวน 2 ชั้น) หรือที่เรียกกันส่วนใหญ่ว่าเคเบิลอากาศ การเลือกใช้งานระหว่างสาย PIC และ SAC ส่วนใหญ่จะใช้ในบริ... อ่านต่อ
  • #มาตรฐานสายทนไฟ
    ในการออกแบบวงจรไฟฟ้าที่เรียกว่า “วงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต”หรือ วงจรไฟฟ้าที่จำเป็นต้องใช้งานได้อย่างดีและต่อเนื่องในภาวะฉุกเฉิน สายไฟฟ้าของวงจรดังกล่าวจะต้องสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ ระยะหนึ่งเมื่อเกิดเพลิงไหม้... อ่านต่อ
  • ไฟฟ้าให้ประโยชน์แก่เรามากมาย แต่ในขณะเดียวกันหากเราไม่ระมัดระวังการใช้ไฟฟ้าแล้ว อันตรายร้ายแรงย่อมสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา พื้นดินบนโลกได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า โดยเราใช้พื้นดินเป็นเส้นทางให้กระแสลัดวงจรหรือกระแสผิดปกติได้ไหลเข้าสู่แหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้า เมื่... อ่านต่อ
  • การหาค่าความต้านทานไฟฟ้า (R : Resistance) ของสายไฟฟ้าในการคำนวณแรงดันตก
    สามารถหาได้จาก Catalog ของผู้ผลิตสายไฟฟ้า ซึ่งมักจะกำหนดค่าความต้านทานของตัวนำที่อุณหภูมิ 20C แต่ในการใช้งานสายไฟฟ้า หากใช้งานสายที่เต็มพิกั...
  • ค่า IP คืออะไร ?
    .
    IP เป็นดัชนี บอกว่าอุปกรณ์ไฟฟ้าดังกล่าวสามารถป้องกันวัตถุแปลกปลอมหรือน้ำเข้าไปข้างในได้มากน้อยเพียงใด ดังนั้นการเลือกอุปกรณ์โดยเฉพาะที่ต้องใ... อ่านต่อ
  • การต่อกราวด์ในระบบไฟฟ้ากับกราวด์ระบบป้องกันฟ้าผ่า แต่ละมาตรฐานพูดไว้ว่าอย่างไร
    - EIT : ช่องเดินสายเครื่องห่อหุ้ม โครงโหละ และส่วนโหละอื่นของบริภัณฑ์ไฟฟ้า ที่ไม่ได้เป็นทางเดินของกระแสไฟฟ้า ต้องมีระยะห่างจากตัวนำของระบบป...
  • อันนี้คือชุด Driver ของหลอด Down light LED
    คำถาม เพื่อความปลอดภัยเราจะต้องเดินสายกราวด์มาที่โคมไฟหรือที่ Driver นี้ไม่ ?...
  • เคยสังเกตกันมั้ยว่า...ทำไมสายไฟฟ้าที่เป็นสายหลายแกนที่มีกราวด์ในเส้นเดี่ยวกัน (multi-core w/ground) ที่ผลิตตามมาตรฐาน มอก.11-2553 จึงมีขนาดสายกราวด์เท่ากับสายเส้นไฟ
    เมื่อก่อน หากเรา ใช้สายไฟที่ผลิตตาม มอก.11-2531 (เก่า) เราจะเห็นว่า ถ้... อ่านต่อ
  • ฟ้าผ่า / ฟ้าแลบ / ฟ้าร้องเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
    ฟ้าผ่า ฟ้าแลบและฟ้าร้องเป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
    ที่เกิดจากการถ่ายเทประจุไฟฟ้าจำนวนมากระหว่างวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าซึ่งอาจเกิดขึ้นระหว่างพื้นโลกกับก้อนเฆม หรือระหว่างก้อนเฆมกับพื้นดิน เหมือนก...