cover

กฎหมายแรงงาน

  • หนังสือ
  • ธุรกิจ
  • การศึกษา
  • 0
  • 72
    โพสต์
  • 202
    ผู้ติดตาม
  • สร้างเพจเมื่อ 27 ต.ค. 2020
  • เป็น รปภ. นายจ้างให้ทำงานเกิน ๘ ชม. แถมยังย้ายงานบ่อย พอจะออกจากงาน แจ้งลาออกไม่ครบเดือนหักค่าจ้างอีก
    เรื่องนี้พิจารณาเป็นประเด็นต่าง ๆ ได้ดังนี้...
  • ทำงาน แต่ลืมตอกบัตรนายจ้างไม่จ่ายได้หรือไม่
    ปัญหาการลืมตอกบัตรถือเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแทบทุกสถานประกอบการ โดยเฉพาะสถานประกอบการที่ตอกบัตรเข้างาน และตอกบัตรตอนพัก...
  • ลาออกไม่ครบ ๓๐ วัน นายจ้างจะฟ้องป่าว...
    คำถามยอดฮิต คือการลาออกไม่เป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญา เช่น นายจ้างกำหนดว่าหากจะลาออกต้องแจ้งก่อน ๓๐ วัน แต่ลูกจ้างบางคนได้งานใหม่ หรือสอบราชการได้ก็ลาออกวัน หรือสองวัน แล้วไปเลย...
  • ะหว่างทำงาน ใช้งานให้ทำก่อนเข้างานบ้าง หลังเลิกงานบ้าง ปัญหาคือใครจะไปกล้าฟ้องเรียกค่าล่วงเวลา ...ดังนั้น รอให้เลิกจ้างหรือลาออกจากงานก่อน แล้วค่อยไปฟ้องเรียกค่าล่วงเวลาย้อนหลังได้ แต่อายุความ 2 ปี
    คำพิพากษาฎีกา 4843/2548
  • เลือกปฎิบัติในทางการจ้างเพราะเหตุ LGBT ไม่ได้
    ผลจากการเลือกปฎิบัติ หากได้รับความเสียหายต้องจ่ายค่าเสียหายเพิ่ม ๔ เท่า หรือเรียกว่า "ค่าเสียหายเชิงลงโทษ" เช่น ถูกเลิกจ้างขาดรายได้หลายเดือนรวมเป็นเงิน ๑ แสน แต่กฎหมายให้จ่าย ๔ แสน
  • ล่วงเวลาหลายคนยังเข้าใจผิดว่าต้องเป็นการทำงานต่อจากเลิกงาน
    [หนังสือเล่มดำ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาแล้ว สามารถออกใบกำกับภาษีให้ได้]...
  • ไม่ดูแลสุขภาพ ป่วยบ่อย เลิกจ้างได้
    [เล่มดำในตำนานมาแล้วนะ เนื้อหาต่อจากเล่มขาวปกคีร์บอร์ด]...
  • ทำผิดลงโทษพักงานแล้ว เอาเหตุเดียวกันมาเลิกจ้างไม่ได้
    [หนังสือเล่มดำ จะถึงบ่ายวันนี้นะครับ รอรับสายคนส่งของจากแฟลชฯ ด้วยครับ]...
  • บริษัทล้มละลาย ใครเป็นนายจ้าง
    เจ้าพนักงานพิทักษณ์ทรัพย์ หรือผู้ทำแผนฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายล้มละลายถือเป็นนายจ้างด้วย เช่นนี้ หากไม่จ่ายค่าจ้าง หรือไม่ปฎิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน หรือหากต้องการยื่นข้อรียกร้องตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์จก็จะต้อ...
  • เหมาจ่ายค่าล่วงเวลาไปกับค่าจ้าง หรือกำหนดว่าโอทีชนเพดานแล้ว
    ตอบสั้นๆ ก่อนนะ ว่า "ทำไม่ได้" เพราะเป็นการตกลงที่แตกต่างจากกฎหมายกำหนดไว้ มีผลเป็นโมฆะ...