cover

หิมพานต์และสัตว์วิเศษ

  • การศึกษา
  • ประวัติศาสตร์
  • ปรัชญา
  • 0
  • 27
    โพสต์
  • 351
    ผู้ติดตาม
  • หิมพานต์และสัตว์วิเศษ เขียนขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน อาจมีเนื้อหาที่ไม่ตรงกับคัมภีร์ พงศาวดารหรือจารึกใดๆ ผู้อ่านโปรดใช้วิจารณญาณในการศึกษาข้อมูล (ลงบทความสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง)
  • สร้างเพจเมื่อ 10 ก.ค. 2020
  • เนื่องจากลามะน้อยต้องการเขียนบทของสัตว์วิเศษให้สมบูรณ์ที่สุด โดยอยากขอเวลาเข้าไปศึกษาสัตว์วิเศษให้ละเอียดครบถ้วน จึงขอเว้นระยะการลงโพสเรื่องสัตว์วิเศษออกไปในระยะยาว ท่านที่สนใจในส่วนของหิมพานต์สามารถศึกษาบทที่ลามะน้อยได้เขียนทิ้งไว้ และจะมาเขียนในส่วนของสัตว์วิเศษต่อแน่นอน แล้วเร...
  • บทที่ 26 ปัจฉิมบทแห่งหิมพานต์ ก่อนก้าวผ่านสู่สัตว์วิเศษ
    โลกหิมพานต์เป็นสถานที่ตั้งของภูเขาหิมพานต์อันประเสริฐ ตั้งตระหง่านมั่นคงและเห็นได้แต่ไกลดั่งสัตบุรุษ ประกอบด้วยสระใหญ่ทั้งเจ็ด มีสระอโนดาต เป็นต้น ประดับประดาด้วยแม่น้ำใหญ่ห้าร้อยสาย มียอดเขาน้อยใหญ่แปดหมื่นสี่... อ่านต่อ
  • บทที่ 25 รถการะ กาลเวลาแห่งความยินดี
    สายน้ำที่ไหลออกจากสระกุณาละและสระมุจลินท์นั้น ได้เกิดเป็นสายน้ำต่างๆมากมายไหลออกมาจากซอกเขา โดยสายน้ำหลักคือสีทานทีได้ไหลลงใต้ต่อผ่านแนวป่าไม้หว้าและมะขวิดที่พากันขึ้นหนาทึบกว้างราวครึ่งโยชน์ (8 กม.)ไปตลอดพื้นท... อ่านต่อ
  • บทที่ 24 สระดุเหว่าหรรษา นาม กุณาละ
    1
    เราได้สำรวจทวีปฝั่งสุทัสสนะหรือกุรทวีปไปแล้ว ต่อไปเราจะเวียนขวาไปสำรวจทวีปสุดท้ายด้านคันธมาทน์หรือ"ภัทรศวาทวีป"กัน โดยเราจะเริ่มเดินทางไปตามสายน้ำเช่นเดิม ซึ่งเราจะใช้ภูเขาหิมพานต์เป็นจุดเริ่มต้นการเดินทางและไป... อ่านต่อ
    1
  • บทที่ 23 ทวีปบุปผาและสระกัณณมุณฑะ
    เราได้ศึกษาสระฉัททันต์ไปแล้ว ต่อไปเราจะไปศึกษาสายน้ำที่ไหลออกมาจากสระฉัททันต์กันต่อ... อ่านต่อ
    1
  • บทที่ 22 ฉัททันตะ มหาสระของผู้มีงา (สระฉัททันต์ 2/2)
    1
    บทที่แล้วเราได้เดินทางสำรวจแนวเขารอบสระฉัททันต์ทั้ง 7 ชั้น จนบรรลุเข้ามาสู่จุดสูงสุดของสระฉัททันต์ ณ ยอดเขาสุวรรณปัสสบรรพต ซึ่งเป็นปากปล่องภูเขาไฟชั้นใน บทนี้เราจะลงจากเขาแล้วสำรวจพื้นที่ด้านในของสระกันต่อว่าเป... อ่านต่อ
  • บทที่ 21 ความอุดมสมบูรณ์ของทวีปสุทัสสนะ (สระฉัททันต์ 1/2)
    เราได้สำรวจที่ราบทวีปฝั่งไกรลาสและทวีปฝั่งจิตตกูฏและกาฬกูฏไปแล้ว ต่อไปเราจะเวียนขวาไปสำรวจทวีปด้านยอดเขาสุทัสสนะหรือ"กุรุทวีป"กันบ้าง โดยเราจะเริ่มเดินทางไปตามสายน้ำ โดยใช้ภูเขาหิมพานต์เป็นต้นทางและไปสุดปลายทาง... อ่านต่อ
    1
  • บทที่ 20 สีหปปาตะ เหวแห่งคมเคี้ยว
    1
    บทที่แล้วเราได้เดินทางสำรวจสระมัณฑากินีไปแล้ว มาบทนี้เราจะเดินทางล่องไปตามสายน้ำซึ่งไหลแหวกแผ่นเกตุมาละทวีปเข้าสู่สระสีหปปาตะกันต่อ... อ่านต่อ
  • บทที่ 19 สระมณฑาทอง มัณฑากินี
    1
    ตอนที่แล้วเราได้รู้จักภารตะทวีปด้านไกรลาสโดยรวมไปแล้ว ตอนนี้เราจะเวียนขวาไปที่ทวีปด้านจิตตกูฏและกาฬกูฏ หรือ"เกตุมาละทวีป"กันต่อ โดยเราจะเริ่มเดินทางไปตามสายน้ำ โดยใช้ภูเขาหิมพานต์เป็นต้นทางแล้วไปสุดปลายทางกันที... อ่านต่อ
    1
  • บทที่ 18 ภารตะทวีป ดินแดนแห่งอสรพิษและรากษส
    2
    บทที่แล้วได้เล่าถึงสายน้ำที่ไหลลงใต้ออกสู่โลกมนุษย์แล้ว บทนี้จะเล่าถึงอลักนันดานทีที่ยังไหลอยู่ในโลกหิมพานต์กันต่อ... อ่านต่อ